แปลเอกสาร แปลภาษา รับแปลเอกสาร รับรองการแปล รับรองเอกสาร Translation Service โดยผู้เชี่ยวชาญศาลยุติธรรม Nortary Public และ B.E.S. โทร 064-4265462
  |  
 
 
บริการ แปลเอกสาร แปลภาษา รับรองเอกสาร  รับรองการแปล
  แปลเอกสาร แปลภาษา ภาษาอังกฤษ / แปลเอกสาร แปลภาษา ภาษาจีน /
แปลเอกสาร แปลภาษา ภาษาญี่ปุ่น / แปลเอกสาร แปลภาษา ภาษาเยอรมัน /
แปลเอกสาร แปลภาษา ภาษาฝรั่งเศส /แปลเอกสาร แปลภาษา อื่นๆ
 บริการรับรองเอกสาร โดย ผู้เชี่ยวชาญของศาลยุติธรรม, Notary Public
และ กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ  

Tel: 064-4265462, 081-7357969  Line ID: 0644265462
E-mail:  Ltcbes@gmail.com

     

 BES Plusตั้งอยู่ในย่านคลองจั่น สี่แยกบางกะปิ เปิดให้บริการมานานกว่า 30 ปี  บริการ แปลเอกสาร แปลภาษาต่างๆ ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาญี่ปุ่น ภาษาจีน ภาษาเยอรมัน ภาษาพม่า ฯลฯ ด้วยการบริการที่เป็นกันเอง คุณภาพ ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญงาน แปลเอกสาร แปลภาษา เหนือราคา ส่งงานตรงเวลาในราคายุติธรรม ดังนั้นคุณจึงมั่นใจได้ว่างาน แปลเอกสาร แปลภาษา ของคุณจะถูกต้อง แม่นยำ สละสลวย และเป็นที่พอใจ

ทีมงาน แปลเอกสาร ของเรา

ทีมงาน แปลเอกสาร ของเรา เป็นผู้มีประสบการณ์ในสาขาวิชาต่างๆ และมีความเชี่ยวชาญในงาน แปลเอกสาร แปลภาษา อย่างแท้จริง
ซึ่งแต่ละท่านล้วนแล้วแต่เป็นนัก แปลเอกสาร แปลภาษา มืออาชีพพร้อมที่จะให้บริการคุณตลอดเวลาแม้ในเวลาเร่งด่วน
 
เราพร้อมที่จะให้บริการ ไม่ว่าคุณจะเป็นเพียงบุคคลธรรมดา บริษัทขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ หรือ หน่วยงานราชการต่างๆ

เราบริการ แปลเอกสาร แปลภาษา ทุกประเภท โดยนักแปลมืออาชีพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยคุณภาพ  เช่น

- แปลเอกสาร แปลภาษา ราชการ ได้แก่ สูติบัตร ทะเบียนบ้าน บัตรประชาชน ทะเบียนสมรส ทะเบียนหย่า ใบเปลี่ยนชื่อ เป็นต้น

- แปลเอกสาร แปลภาษา จดทะเบียนบริษัท ได้แก่ หนังสือรับรองบริษัท หนังสือบริคณฑ์สนธิ ข้อบังคับบริษัท รายงานการประชุม เป็นต้น 

- แปลเอกสาร แปลภาษา ทางธุรกิจ            - แปลเอกสาร แปลภาษา สิทธิบัตร

- แปลเอกสาร แปลภาษา คู่มือบริษัท           - แปลเอกสาร แปลภาษา ด้านโฆษณา

- แปลเอกสาร แปลภาษา แคตตาล๊อกสินค้า    - แปลเอกสาร แปลภาษา สัญญา

- แปลเอกสาร แปลภาษา งบการเงิน            - แปลเอกสาร แปลภาษา กฎหมาย

- แปลเอกสาร แปลภาษา ด้านวิศวกรรม         - แปลเอกสาร แปลภาษา ด้านสิ่งแวดล้อม

- แปลเอกสาร แปลภาษา เนื้อหาข่าว            - แปลเอกสาร แปลภาษา จดหมาย

- แปลเอกสาร แปลภาษา บทความ              - แปลเอกสาร แปลภาษา ตำรา

- แปลเอกสาร แปลภาษา วิทยานิพนธ์           - แปลเอกสาร แปลภาษา งานวิจัย

- แปลเอกสาร แปลภาษา เว็บไซต์               - แปลเอกสาร แปลภาษา เนื้อหาอีเมล

- แปลเอกสาร แปลภาษา สื่อสิ่งพิมพ์             - แปลเอกสาร แปลภาษา บทภาพยนตร์

- แปลเอกสาร แปลภาษา บทสารคดี             - แปลเอกสาร แปลภาษา ฯลฯ


การแปลสามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด อย่างกว้างๆ ดังนี้

1. การแปลตรงตัว (literal translation) – หรือการแปลตามตัวอักษร เป็นการแปลโดยพยายามคงความหมายและโครงสร้างของต้นฉบับไว้มากที่สุด มุ่งความถูกต้องแม่นยําเป็นหลัก แต่อาจมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้าง (Structure) และการใช้คําบ้าง เพื่อให้เป็นไปตามหลักการใช้ภาษาของภาษาฉบับแปล  การแปลลักษณะนี้ใช้ในกลุ่มนักวิชาการหรือกลุ่มเฉพาะอาชีพที่ต้องการความถูกต้องของ สาระข้อเท็จจริง เพื่อจุดประสงค์ในด้านการศึกษาค้นคว้าหรือการนําไปปฏิบัติ เช่น การแปลฉลากยา ขั้นตอนการทดลอง คู่มือปฏิบัติการเป็นต้น นอกจากนี้ กฎหมายสนธิสัญญาระหว่างประเทศ รายงาน และเอกสารราชการต่างๆก็ใช้วิธีการแปลแบบตรงตัวเช่นกัน

2. การแปลสรุปความ หรือเอาความ (non-literal translation) – การแปลลักษณะนี้ ไม่ได้มุ่งรักษาโครงสร้าง ตามความหมายหรือรูปแบบของต้นฉบับอย่างเคร่งครัด มีการโยกย้ายขยายความหรือตัดทอนหรือเปลี่ยนแปลงรูปคําหรือไวยากรณ์ได้ การแปลลักษณะนี้นิยมใช้กับเรื่องที่ไม่จําเป็นต้องรักษาความถูกต้องแน่นอนของต้นฉบับ การแปลลักษณะนี้ใช้ในสื่อมวลชนทุกประเภทโดยเฉพาะเพื่อความบันเทิงผู้แปลอาจอ่านจบทีละย่อหน้า ทําความเข้าใจกับเนื้อหา วิธีคิด จุดมุ่งหมายของผู้เขียนและสิ่งที่ละไว้ในฐานที่เข้าใจ เมื่อสรุปเนื้อหาหลักของต้นฉบับแล้วจึงถ่ายทอดออกมาโดยเรียบเรียบใหม่ การแปลลักษณะนี้เป็นการแปลที่นิยมแพร่หลาย ตัวอย่างของการแปลลักษณะนี้ คือ การแปลนวนิยายเรื่องสั้น นิทาน บทวิทยุ โทรทัศน์

ลักษณะของภาษาในงานแปลที่ดีควรมีลักษณะดังนี้

1. มีความชัดเจน คือเป็นภาษาที่มีลักษณะกระชับ ไม่ใช้คําที่ไม่จําเป็น รูปประโยคควรเป็นประโยคสั้นๆ หลีกเลี่ยงโครงสร้างประโยคที่ซับซ้อน สลับที่ ใช้ข้อความที่แสดงความคิดได้แจ่มแจ้ง เช่น ประโยคเดียวแสดงความคิดเดียว ไม่กํากวมหรือชวนให้ตีความได้หลายแง่หลายมุม

2. มีความเหมาะสม ผู้แปลต้องเลือกใช้ลีลาการเขียนให้สอดคล้องกับลักษณะของเรื่องที่จะแปล เช่น ถ้าแปลนวนิยายก็อาจใช้สำนวนโวหารเหมาะๆ ให้เกิดภาพพจน์ได้ แต่ถ้าแปลงานด้านกฎหมายหรือการแพทย์ต้องใช้ศัพท์เฉพาะและลีลาการเขียนที่สั้นๆ ไม่ใช้คําหรูหราหรือสํานวนอ้อมค้อมแต่อย่างใด

3. มีความเรียบง่าย ใช้ภาษาที่เรียบง่ายและสัมพันธ์กับความคิดที่กระจ่างแจ้งและต้องตรงตามต้นฉบับ

4. มีความสมเหตุสมผล ในภาษาแต่ละภาษา มีความสมเหตุสมผลต่างกัน ภาษาที่ใช้ก็ต้องให้มีความสมเหตุสมผลเท่าๆกับที่ภาษาต้นฉบับมีด้วย

ผู้แปลต้องเข้าใจภาษาทั้งสอง คือทั้งภาษาต้นฉบับและภาษาฉบับแปลเป็นอย่างดี ต้องมีความรู้และภูมิหลังในเรื่องที่จะแปลพอสมควร ต้องมีความสามารถใช้ภาษาอย่างดีเพื่อที่จะได้ถ่ายทอดความคิดของผู้เขียนต้นฉบับให้ผู้อ่านฉบับแปลรู้เรื่อง เข้าใจและอ่านได้อย่างอรรถรส

ข้อมูลโดย:   สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (สกศ.) กระทรวงศึกษาธิการ


 


Online: 2 Visits: 349,305 Today: 43 PageView/Month: 1,232